บทความเกี่ยวกับศาสนา-ภาษา-สังคม

สัทธรรมปฏิรูปกสูตร

Asian monk novice read a book ,MONK Southeast Asian young Buddhist monk In one of the temples in Thailand.

สัทธรรมปฏิรูปกสูตร สังยุตตนิกาย นิทานวรรค พระไตรปิฎกเล่ม ๑๖ ข้อ ๕๓๑-๕๓๕

สารัตถปกาสินี ภาค ๒ หน้า ๓๑๘-๓๒๔

พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่ม ๒๖ หน้า ๖๓๐-๖๓๘

——————————

สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

พระไตรปิฎกเล่ม ๑๖ ข้อ ๕๓๑-๕๓๕

[๕๓๑]  เอกํ  สมยํ  ภควา  สาวตฺถิยํ  วิหรติ  เชตวเน  อนาถปิณฺฑิกสฺส 

อาราเม  ฯ  อถ  โข  อายสฺมา  มหากสฺสโป  เยน  ภควา 

เตนุปสงฺกมิ  อุปสงฺกมิตฺวา  ภควนฺตํ  อภิวาเทตฺวา  เอกมนฺตํ  นิสีทิ  ฯ 

เอกมนฺตํ  นิสินฺโน  โข  อายสฺมา  มหากสฺสโป  ภควนฺตํ  เอตทโวจ 

โก  นุ  โข  ภนฺเต  เหตุ  โก  ปจฺจโย  เยน  ปุพฺเพ  อปฺปตรานิ 

เจว  สิกฺขาปทานิ  อเหสุํ  พหุตรา  จ  ภิกฺขู  อญฺญาย  สณฺฐหึสุ 

โก  ปน  ภนฺเต  เหตุ  โก  ปจฺจโย  เยเนตรหิ  พหุตรานิ  เจว 

สิกฺขาปทานิ  อปฺปตรา  จ  ภิกฺขู  อญฺญาย  สณฺฐหนฺตีติ  ฯ 

     [๕๓๒]  เอวญฺหตํ  กสฺสป  โหติ  สตฺเตสุ  หายมาเนสุ  สทฺธมฺเม 

อนฺตรธายมาเน  พหุตรานิ  เจว  สิกฺขาปทานิ  โหนฺติ  อปฺปตรา  จ 

ภิกฺขู  อญฺญาย  สณฺฐหนฺติ  น  ตาว  กสฺสป  สทฺธมฺมสฺส  อนฺตรธานํ 

โหติ  ยาว  น  สทฺธมฺมปฏิรูปกํ  โลเก  อุปฺปชฺชติ  ยโต  จ 

โข  กสฺสป  สทฺธมฺมปฏิรูปกํ  โลเก  อุปฺปชฺชติ  อถ  สทฺธมฺมสฺส 

อนฺตรธานํ  โหติ  ฯ  เสยฺยถาปิ  กสฺสป  น  ตาว  ชาตรูปสฺส 

#๑ ม. เอวญฺเจตํ ฯ 

อนฺตรธานํ  โหติ  ยาว  น  ชาตรูปปฏิรูปกํ  โลเก  อุปฺปชฺชติ  ยโต 

จ  โข  กสฺสป  ชาตรูปปฏิรูปกํ  โลเก  อุปฺปชฺชติ  อถ  ชาตรูปสฺส 

อนฺตรธานํ  โหติ  ฯ  เอวเมว  โข  กสฺสป  น  ตาว  สทฺธมฺมสฺส 

อนฺตรธานํ  โหติ  ยาว  น  สทฺธมฺมปฏิรูปกํ  โลเก  อุปฺปชฺชติ 

ยโต  จ  โข  กสฺสป  สทฺธมฺมปฏิรูปกํ  โลเก  อุปฺปชฺชติ  อถ 

สทฺธมฺมสฺส  อนฺตรธานํ  โหติ  ฯ 

     [๕๓๓]  น  โข  กสฺสป  ปฐวีธาตุ  สทฺธมฺมํ  อนฺตรธาเปติ  น 

อาโปธาตุ  สทฺธมฺมํ  อนฺตรธาเปติ  น  เตโชธาตุ  สทฺธมฺมํ 

อนฺตรธาเปติ  น  วาโยธาตุ  สทฺธมฺมํ  อนฺตรธาเปติ  อถโข  อิเธว  เต 

อุปฺปชฺชนฺติ  โมฆปุริสา  เย  อิมํ  สทฺธมฺมํ  อนฺตรธาเปนฺติ  เสยฺยถาปิ 

กสฺสป  นาวา  อาทิเกเนว  โอปิลาวติ  ฯ  น  โข  กสฺสป  เอวํ 

สทฺธมฺมสฺส  อนฺตรธานํ  โหติ  ฯ 

     [๕๓๔]  ปญฺจ  โขเม  กสฺสป  โอกฺกมนิยา  ธมฺมา  สทฺธมฺมสฺส 

สมฺโมสาย  อนฺตรธานาย  สํวตฺตนฺติ  ฯ  กตเม  ปญฺจ  ฯ  อิธ  กสฺสป 

ภิกฺขู  ภิกฺขุนิโย  อุปาสกา  อุปาสิกาโย  สตฺถริ  อคารวา  วิหรนฺติ 

อปฺปติสฺสา  ธมฺเม  อคารวา  วิหรนฺติ  อปฺปติสฺสา  สงฺเฆ  อคารวา 

วิหรนฺติ  อปฺปติสฺสา  สิกฺขาย  อคารวา  วิหรนฺติ  อปฺปติสฺสา  สมาธิสฺมึ 

อคารวา  วิหรนฺติ  อปฺปติสฺสา  ฯ  อิเม  โข  กสฺสป  ปญฺจ  โอกฺกมนิยา 

ธมฺมา  สทฺธมฺมสฺส  สมฺโมสาย  อนฺตรธานาย  สํวตฺตนฺติ  ฯ 

     [๕๓๕]  ปญฺจ  โขเม  กสฺสป  ธมฺมา  สทฺธมฺมสฺส  ฐิติยา 

#๑ ม. ยุ. โอปิลวติ ฯ 

อสมฺโมสาย  อนนฺตรธานาย  สํวตฺตนฺติ  ฯ  กตเม  ปญฺจ  ฯ  อิธ 

กสฺสป  ภิกฺขู  ภิกฺขุนิโย  อุปาสกา  อุปาสิกาโย  สตฺถริ  สคารวา 

วิหรนฺติ  สปฺปติสฺสา  ธมฺเม  สคารวา  วิหรนฺติ  สปฺปติสฺสา  สงฺเฆ 

สคารวา  วิหรนฺติ  สปฺปติสฺสา  สิกฺขาย  สคารวา  วิหรนฺติ  สปฺปติสฺสา 

สมาธิสฺมึ  สคารวา  วิหรนฺติ  สปฺปติสฺสา  ฯ  อิเม  โข  กสฺสป 

ปญฺจ  ธมฺมา  สทฺธมฺมสฺส  ฐิติยา  อสมฺโมสาย  อนนฺตรธานาย 

สํวตฺตนฺตีติ  ฯ  เตรสมํ  ฯ 

                  กสฺสปสํยุตฺตํ  จตุตฺถํ  นิฏฺฐิตํ  ฯ 

                       ตสฺส อุทฺทานํ 

         สนฺตุฏฺฐญฺจ  อโนตฺตาปี      จนฺทูปมํ  กุลูปกํ 

         ชิณฺณํ  ตโย  จ  โอวาทา    ฌานาภิญฺญา  อุปสฺสยํ 

         จีวรํ  ปรมฺมรณํ                 สทฺธมฺมปฏิรูปกนฺติ  ฯ  

                       ____________ 

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 630

               ๑๓.   สัทธรรมปฏิรูปกสูตร

     ว่าด้วยพระสัทธรรมกำลังเลือนหายไป

         [๕๓๑]  สมัยหนึ่ง  พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่  ณ  พระเชตวัน

อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี  กรุงสาวัตถี.   ณ  ครั้งนั้น   ท่านพระ-  

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 631

มหากัสสปเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ   ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว

ถวายอภิวาทแล้วนั่ง  ณ   ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง  ครั้นท่านพระมหากัสสปนั่ง

เรียบร้อยแล้วได้กราบทูลถามว่า   ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ   อะไรหนอแล

เป็นเหตุ    เป็นปัจจัย     ให้เมื่อก่อนสิกขาบทมีน้อยและภิกษุตั้งอยู่ในพระ

อรหัตผลมีมาก   และอะไรเป็นเหตุ    เป็นปัจจัย    ให้บัดนี้สิกขาบทมีมาก

และภิกษุตั้งอยู่ในพระอรหัตผลมีน้อย.

         [๕๓๒]  พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า   ดูก่อนกัสสป    ข้อนั้นเป็น

อย่างนี้คือ   เมื่อหมู่สัตว์เลวลง    พระสัทธรรมกำลังเลือนหายไป  สิกขาบท

จึงมีมากขึ้น  ภิกษุที่ตั้งอยู่ในพระอรหัตผลจึงน้อยเข้า  สัทธรรมปฏิรูปยังไม่

เกิดขึ้นในโลกตราบใด    ตราบนั้นพระสัทธรรมก็ยังไม่เลือนหายไป  และ

สัทธรรมปฏิรูปเกิดขึ้นในโลกเมื่อใด   เมื่อนั้นพระสัทธรรมจึงเลื่อนหายไป

ทองเทียมยิ่งไม่เกิดขึ้นในโลกตราบใด    ตราบนั้นทองคำธรรมชาติก็ยังไม่

หายไป     และเมื่อทองเทียมเกิดขึ้น      ทองคำธรรมชาติจึงหายไปฉันใด

พระสัทธรรมก็ฉันนั้น  สัทธรรมปฏิรูปยังไม่เกิดขึ้นในโลกตราบใด   ตราบ

นั้นพระสัทธรรมก็ยังไม่เลื่อนหายไป       เมื่อสัทธรรมปฏิรูปเกิดขึ้นเมื่อใด

เมื่อนั้นพระสัทธรรมจึงเลือนหายไป.

         [๕๓๓]  ดูก่อนกัสสป     ธาตุดินยังพระสัทธรรมให้เลือนหายไปไม่

ได้      ธาตุน้ำ    ธาตุไฟ  ธาตุลม   ก็ยังพระสัทธรรมให้เลือนหายไปไม่ได้

ที่แท้โมฆบุรุษในโลกนี้ต่างหากเกิด ขึ้นมาก็ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไป

เปรียบเหมือนเรือจะอับปาง   ก็เพราะต้นหนเท่านั้น   พระสัทธรรมยังไม่   

เลือนหายไป   ด้วยประการฉะนี้.

          [๕๓๔]  ดูก่อนกัสสป   เหตุฝ่ายดำ  ๕  ประการเหล่านี้  ย่อมเป็น   

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 632

ไปพร้อมเพื่อความฟั่นเฟือน  เพื่อความเลือนหายแห่งพระสัทธรรม   เหตุ

ฝ่ายต่ำ  ๕  ประการเป็นไฉน  คือ  ภิกษุ  ภิกษุณี  อุบาสก  อุบาสิกา

ในธรรมวินัยนี้   ไม่เคารพยำเกรงในพระศาสดา  ๑  ในพระธรรม ๑  ใน

พระสงฆ์    ในสิกขา  ๑  ในสมาธิ  ๑    เหตุฝ่ายดำ  ๕  ประการเหล่านี้แล

ย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อความฟั่นเฟือนเพื่อความเลือนหายแห่งพระสัทธรรม.

         [๕๓๕]   ดูก่อนกัสสป  เหตุ  ๕  ประการเหล่านี้แล   ย่อมเป็นไป

พร้อมเพื่อความตั้งมั่น  ไม่ฟั่นเฟือน  ไม่เลือนหายแห่งพระสัทธรรม  เหตุ

๕ ประการเป็นไฉน  คือ  ภิกษุ  ภิกษุณี  อุบาสก  อุบาสิกา  ในธรรมวินัย

นี้    มีความเคารพยำเกรงในพระศาสดา   ในพระธรรม  ๑ ในพระสงฆ์  ๑

ในสิกขา  ๑  ในสมาธิ  ๑  เหตุ  ๕  ประการนี้แล  ย่อมเป็นไปพร้อม

เพื่อความตั้งมั่น  ไม่ฟั่นเฟือน   ไม่เลือนหายแห่งพระสัทธรรม.

                                จบสัทธรรมปฏิรูปกสูตรที่  ๑๓

                                      จบกัสสปสังยุตที่  ๔

สัทธรรมปฏิรูปกสูตร

สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

พระไตรปิฎกเล่ม ๑๖ ข้อ ๕๓๑-๕๓๕

                      รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้  คือ

         ๑.  สันตุฏฐสูตร                   ๒.  อโนตตัปปิสูตร       ๓.  จันทูปมสูตร

         ๔.  กุลูปกสูตร                      ๕.  ชิณณสูตร                ๖.  ปฐมโอวาทสูตร         

         ๗.  ทุติยโอวาทสูตร             ๘.  ตติยโอวาทสูตร        ๙.  ฌานาภิญญาสูตร 

         ๑๐.  ภิกขุนูปัสสยสูตร         ๑๑.  จีวรสูตร                  ๑๒.  ปรัมมรณสูตร 

         ๑๓.  สัทธรรมปฏิรูปกสูตร.

———-

สารัตถปกาสินี ภาค ๒ หน้า ๓๑๘-๓๒๔

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 318

                        *เล่มที่ ๑๑   หน้า ๓๑๘

                                สทฺธมฺมปฺปฏิรูปกสุตฺตวณฺณนา        

        เตรสเม   อฺาย   สณฺหึสูติ   อรหตฺเต   ปติฏฺหึสุ ฯ

สทฺธมฺมปฏิรูปกนฺติ   เทฺว  สทฺธมฺมปฏิรูปกานิ  อธิคมสทฺธมฺม-

ปฏิรูปกฺจ ปริยตฺติสทฺธมฺมปฏิรูปกฺจ   ตตฺถ 

                โอภาเส เจว าเณ จ                ปีติยา จ วิกมฺปติ         

                ปสฺสทฺธิยา สุเข เจว                เยหิ จิตฺต ปเวธติ ฯ      

                อธิโมกฺเข จ ปคฺคาเห                อุปฏฺาเน จ กมฺปติ       

                อุเปกฺขาวชฺชนา (๑) เจว        อุเปกฺขาย จ นิกนฺติยา ฯ     

                อิมานิ ทส านานิ                ปฺา ยสฺส ปริจฺจิตา (๒)      

                ธมฺมุทฺธจฺจกุสโล (๓) โหติ  น จ สมฺโมห คจฺฉตีติ ฯ (๔)     

# ๑. สี. อุเปกฺขาวชฺชเน เจว ฯ  ๒. ม. ปริจิตา ฯ  ๓. สี. ส ตตฺถ กุสโล ฯ

# ม. ธมฺมุทฺธจฺจกุสโล ฯ  ๔. ขุ. ปฏิ. ๓๑/๕๔๓/๔๔๘ ฯ

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 319

                *เล่มที่ ๑๑  สทฺธมฺมปฺปฏิรูปกสุตฺตวณฺณนา  หน้า ๓๑๙

อิท  วิปสฺสนาาณสฺส  อุปกฺกิเลสชาต  อธิคมสทฺธมฺมปฏิรูปก 

นาม ฯ  ติสฺโส ปน  สงฺคีติโย  อนารุฬฺห  ธาตุกถา  อารมฺมณ-

กถา  อสุภกถา  าณวตฺถุกถา  วิชฺชากรณฺฑโกติ อิเมหิ ปฺจหิ

กถาวตฺถูหิ ปริพาหิร คุฬฺหวินย  คุฬฺหเวสฺสนฺตร คุฬฺหมโหสถ  (๑) 

วณฺณปิฏก  องฺคุลิมาลปิฏก  รฏฺปาลคชฺชิต  อาฬวกคชฺชิต

เวทลฺลปิฏกนฺติ  อพุทฺธวจน ปริยตฺตสทฺธมฺมปฏิรูปก นาม ฯ      

        ชาตรูปปฏิรูปกนฺติ  สุวณฺณการสฺส   วิทฺธ (๒) อารกูฏมย

สุวณฺณวณฺณ อาภรณชาต ฯ  ฉณกาเลสุ  หิ  มนุสฺสา  อาภรณ-

ภณฺฑก  คณฺหิสฺสามาติ  อาปณ  คจฺฉนฺติ ฯ  อถ  เน  อาปณิกา

เอว วทนฺติ สเจ ตุเมฺห อาภรณตฺถิกา อิมานิ คณฺหถ ฯ

อิมานิ  หิ  ฆนานิ  เจว  วณฺณวนฺตานิ  จ  อปฺปคฺฆานิ  จาติ ฯ 

เต  เตส  สุตฺวา การณ  อิเม  วทนฺติ  อิมานิ  ปิลนฺธิตฺวา

สกฺกา นกฺขตฺต กีฬิตุ โสภนฺติ เจว อปฺปคฺฆานิ  จาติ

ตานิ คเหตฺวา คจฺฉนฺติ สุวณฺณภณฺฑ อวิกฺกยมาน(๓)

นิทฺทหิตฺวา เปตพฺพ โหติ ฯ เอว ต ชาตรูปปฏิรูปเก

อุปฺปนฺเน อนฺตรธายติ นาม ฯ    

        อถ  สทฺธมฺมสฺส  อนฺตรธาน  โหตีติ  อธิคมสทฺธมฺมสฺส

ปฏิปตฺติสทฺธมฺมสฺส ปริยตฺติสทฺธมฺมสฺสาติ  ติวิธสฺสาปิ  สทฺธมฺมสฺส

อนฺตรธาน  โหติ ฯ  ปมโพธิย หิ ภิกฺขู  ปฏิสมฺภิทปฺปตฺตา 

# ๑. ม. คุฬฺหมโหสธ ฯ  ๒. สี. สุวณฺณรสวิทฺธ ฯ

# ม. สุวณฺณรสวิธาน ฯ  ๓. ม. อวิกฺกิยมาน ฯ

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 320

                *เล่มที่ ๑๑  นิทานวคฺควณฺณนา  หน้า  ๓๒๐

อเหสุ ฯ  อถ  กาเล  คจฺฉนฺเต  ปฏิสมฺภิทา  ปาปุณิตุ  น สกฺขึสุ

ฉฬภิฺา  อเหสุ ฯ  ตโต  ฉ  อภิฺา  ปาปุณิตุ  อสกฺโกนฺตา

ติสฺโส วิชฺชา  ปาปุณึสุ ฯ  อิทานิ  กาเล  คจฺฉนฺเต  ติสฺโส 

วิชฺชา  ปาปุณิตุ อสกฺโกนฺตา อาวกฺขยมตฺต  ปาปุณิสฺสนฺติ ฯ

ตมฺปิ  อสกฺโกนฺตา  อนาคามิผล  ตมฺปิ อสกฺโกนฺตา สกคาทามิผล

ตมฺปิ  อสกฺโกนฺตา  โสตาปตฺติผล ฯ  คจฺฉนฺเต  กาเล โสตาปตฺติผลมฺปิ

ปตฺตุ  น  สกฺขิสฺสนฺติ ฯ  อถ เนส ยทา วิปสฺสนา อิเมหิ

อุปกฺกิเลเสหิ อุปกิลิฏฺา อารทฺธมตฺตาว สฺสติ ตทา อธิคม-

สทฺธมฺโม อนฺตรหิโต นาม ภวิสฺสติ ฯ    

        ปมโพธิย  หิ  ภิกฺขู  จตุนฺน  ปฏิสมฺภิทาน  อนุจฺฉวิก

ปฏิปตฺตึ ปูรยึสุ ฯ คจฺฉนฺเต  กาเล  ต  อสกฺโกนฺตา  ฉนฺน

อภิฺาน  ตมฺปิ  อสกฺโกนฺตา ติสฺสนฺน วิชฺชาน  ตมฺปิ  อสกฺโกนฺตา

อรหตฺตผลมตฺตสฺส ฯ  คจฺฉนฺเต  ปน  กาเล  อรหตฺตสฺส อนุจฺฉวิก

ปฏิปตฺตึ  ปูเรตุ  อสกฺโกนฺตา  อนาคามิผลสฺส  อนุจฺฉวิก

ปฏิปท  (๑) ปูเรสฺสนฺติ  ตมฺปิ  อสกฺโกนฺตา สกทาคามิผลสฺส ตปิ

อสกฺโกนฺตา โสตาปตฺติผลสฺส ยทา ปน โสตาปตฺติผลสฺสปิ

อนุจฺฉวิก ปฏิปท ปูเรตุ อสกฺโกนฺตา สีลปริสุทฺธิมตฺเต

สฺสนฺติ ตทา ปฏิปตฺติสทฺธมฺโม อนฺตรหิโต นาม ภวิสฺสติ ฯ      

        ยาว  ปน  เตปิฏก  พุทฺธวจน  ปวตฺตติ  (๒)  น  ตาว

# ๑. ม. ปฏิปตฺตึ น  ๒. ม. ยุ. วตฺตติ ฯ

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 321

                *เล่มที่ ๑๑  สทฺธมฺมปฺปฏิรูปกสุตฺตวณฺณนา  หน้า ๓๒๑

สาสน  อนฺตรหิตนฺติ  วตฺตุ  วฏฺฏติ ฯ  ติฏฺนฺตุ  วา  ตีณิ 

อภิธมฺมปิฏเก  อนฺตรหิเต  อิตเรสุ  ทฺวีสุ วตฺตนฺเตสุปิ  (๑)อนฺตรหิตนฺติ

น วตฺตพฺพเมว ฯ ทฺวีสุ อนฺตรหิเตสุ วินยปิฏกมตฺเต ิเตปิ 

ตตฺราปิ  ขนฺธกปริวาเรสุ  อนฺตรหิเตสุ  อุภโตวิภงฺคมตฺเต ฯ  มหา-

วินเย อนฺตรหิเต  ทฺวีสุ  ปาติโมกฺเขสุ  วตฺตมาเนสุปิ  สาสน 

อนนฺตรหิตเมว ฯ  ยทา  ปน เทฺว  ปาติโมกฺขา  อนฺตร-

ธายิสฺสนฺติ  อถ ปริยตฺติสทฺธมฺมสฺส อนฺตรธาน ภวิสฺสติ ฯ

ตสฺมึ  อนฺตรหิเต  สาสน  อนฺตรหิต  นาม  โหติ ฯ  ปริยตฺติยา

หิ  อนฺตรหิตาย ปฏิปตฺติ  อนฺตรธายติ  ปฏิปตฺติยา  อนฺตรหิตาย

อธิคโม  อนฺตรธายติ ฯ  กึการณา อย  หิ  ปริยตฺติ ปฏิปตฺติยา

ปจฺจโย โหติ ปฏิปตฺติ อธิคมสฺส ฯ อิติ ปฏิปตฺติโตปิ ปริยตฺติเยว

ปมาณ ฯ                 

        นนุ  จ  กสฺสปสมฺมาสมฺพุทฺธกาเล  กปิโล  นาม  อนาจาโร 

ภิกฺขุ (๒) ปาติโมกฺข  อุทฺทิสิสฺสามีติ  วีชนึ  คเหตฺวา  อาสเน

นิสินฺโน  อตฺถิ อิมสฺมึ วตฺตนฺตาติ ปุจฺฉิ  อถ  ตสฺส ภเยปิ

ปาติโมกฺโข วตฺตติ เตปิ มย วตฺตามาติ  อวตฺวา น

วตฺตามาติ  วทึสุ  โส วีชนึ เปตฺวา อุฏฺายาสนา คโต ฯ

ตทา สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส สาสน  โอสกฺกิตนฺติ  กิฺจาปิ  โอสกฺกิต

ปริยตฺติ  ปน เอกนฺเตเนว ปมาณ ฯ ยถา หิ  มหโต  ตฬากสฺส

# ๑. ม. ติฏฺนฺเตสุปิ ฯ  ๒. สี. ยุ. อนาราธิกภิกฺขุ ฯ

# ม. อนาราธกภิกฺขุ ฯ

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 322

                *เล่มที่ ๑๑  นิทานวคฺควณฺณนา  หน้า  ๓๒๒

ปาลิยา  ถิราย  อุทก  น  สฺสตีติ  น  วตฺตพฺพ  อุทเก

สติ ปทุมาทีนิ  ปุปฺผานิ  น  ปุปฺผิสฺสนฺตีติ  น  วตฺตพฺพ ฯ

เอวเมว  มทาตฬากสฺส ถิรปาลิสทิเส  เตปิฏเก  พุทฺธวจเน  สติ

มหาตฬาเก  อุทกสทิสา  ปฏิปตฺตปูรกา  กุลปุตฺตา  นตฺถีติ  น 

วตฺตพฺพา ฯ  เตสุ  สติ  มหาตฬาเก  ปทุมาทีนิ  ปุปฺผานิ

วิย  โสตาปนฺนาทโย  อริยปุคฺคลา  นตฺถีติ  น  วตฺตพฺพนฺติ  เอว

เอกนฺตโต ปริยตฺติเยว ปมาณ ฯ                 

        ปวีธาตูติ  เทฺวสตสหสฺสานิ  จตฺตาริ  จ  นหุตานิ  พหลา

มหาปวี ฯ  อาโปธาตูติ  ปวีโต  ปฏฺาย  ยาว  สุภกิณฺห-

พฺรหฺมโลกา  อุคฺคต  กปฺปวินาสก อุทก ฯ  เตโชธาตูติ  ปวิโต 

ปฏฺาย  ยาว อาภสฺสรพฺรหฺมโลกา อุคฺคโต กปฺปวินาสโก  อคฺคิ ฯ

วาโยธาตูติ  ปวิโต  ปฏฺาย  ยาว เวหปฺผลพฺรหฺมโลกา อุคฺคโต

กปฺปวินาสโก  วายุ ฯ  เอเตสุ  หิ  เอกธมฺโมปิ  สตฺถุสาสน 

อนฺตรธาเปตุ  น  สกฺโกติ  ตสฺมา  เอวมาห ฯ  อิเธว  เต 

อุปฺปชฺชนฺตีติ  โลหโต  โลหขาทกมล  วิย  อิมสฺมึ  มยฺหเยว สาสเน

เต อุปฺปชฺชนฺติ ฯ โมฆปุริสาติ ฯ ตุจฺฉปุริสา ฯ        

        อาทิเกเนว  โอปิลวตีติ  เอตฺถ  อาทิเกนาติ  อาทาเนน

คหเณน ฯ  โอปิลวตีติ  นิมฺมุชฺชติ ฯ  อิท  วุตฺต โหติ ยถา

อุทกคตา (๑) นาวา ภณฺฑ คณฺหนฺตี นิมฺมุชฺชติ  เอว

# ๑. ม. ยุ. อุทกจรา ฯ

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 323

                *เล่มที่ ๑๑  สทฺธมฺมปฺปฏิรูปกสุตฺตวณฺณนา  หน้า ๓๒๓

ปริยตฺติอาทีน  ปูรเณน  สทฺธมฺมสฺส อนฺตรธาน น โหติ ฯ

ปริยตฺติยา หิ หายมานาย  ปฏิปตฺติยา   หายมานาย  อธิคโม

หายติ ฯ  ปริยตฺติยา  ปูรยมานาย  ปริยตฺติธรา  ปุคฺคลา  ปฏิปตฺตึ 

ปูเรนฺติ  ปฏิปตฺติปูรกา  อธิคม ปูเรนฺติ ฯ  อิติ  นวจนฺโท

วิย  (๑)  ปริยตฺติยาทีสุ  วฑฺฒมานาสุ  มยฺห  สาสน วฑฺฒติเยวาติ

ทสฺเสติ ฯ                

        อิทานิ  เยหิ  ธมฺเมหิ  สทฺธมฺมสฺส  อนฺตรธานฺเจว  ิติ 

จ  โหติ  เต  ทสฺเสนฺโต  ปฺจ  โขติอาทิมาห ฯ  ตตฺถ  โอกฺกมนิยาติ

อวกฺกมนียา  เหฏฺาคมนียาติ อตฺโถ ฯ  สตฺถริ  อคารวาติอาทีสุ 

อคารวาติ  คารวรหิตา ฯ  อปฺปติสฺสาติ อปฺปติสฺสยา อนีจวุตฺติกา ฯ

ตตฺถ  โย  เจติยงฺคณ  อาโรหนฺโต  ฉตฺต  ธาเรติ อุปาหน

ธาเรติ อฺโต โอโลเกตฺวา กถ กเถนฺโต คจฺฉติ อย

สตฺถริ อคารโว นาม ฯ    

        โย  ธมฺมสฺสวนกาเล  สงฺฆุฏฺเ  ทหรสามเณเรหิ  ปริวาริโต

นิสีทติ  อฺานิ  วา  นวกมฺมาทีนิ  กโรติ  ธมฺมสฺสวนคฺเค

นิสินฺโน  นิทฺทายติ  วิกฺขิตฺโต  วา อฺ กเถนฺโต นิสีทติ

อย ธมฺเม อคารโว นาม ฯ         

        โย  เถรุปฏฺาน  คนฺตฺวา  อวนฺทิตฺวา  นิสีทติ  หตฺถ-

ปลฺลตฺถิก  วา ทุสฺสปลฺลตฺถิก  กโรติ  อฺ วาปน

# ๑. ม. วฑฺฒนจนฺโท วิย ฯ

สยุตฺตนิกายฏฺกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) – หน้าที่ 324

                *เล่มที่ ๑๑  นิทานวคฺควณฺณนา  หน้า  ๓๒๔

ปตฺถปาทกุกฺกุจฺจ กโรติ วุฑฺฒาน สนฺติเก อนชฺฌิฏฺโ กเถติ

อย สงฺเฆ อคารโว นาม ฯ           

        ติสฺโส  ปน  สิกฺขา  อปูเรนฺโตว  สิกฺขาย  อคารโว  นาม

โหติ ฯ  อฏฺ  สมาปตฺติโย  อนิพฺพตฺเตนฺโต  ตาส  วาปน

นิพฺพตฺตนตฺถาย  ปโยค  อกโรนฺโต  สมาธิสฺมึ อคารโว

นาม ฯ สุกฺกปกฺโข วุตฺตวิปลฺลาเสเนว เวทิตพฺโพติ ฯ

                        เตรสม ฯ  

                กสฺสปสยุตฺตวณฺณนา นิฏฺตา ฯ        

สารัตถปกาสินี ภาค ๒ หน้า ๓๑๘-๓๒๔

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 633

     อรรถกถาสัทธรรมปฏิรูปกสูตรที่  ๑๓ 

         พึงทราบวินิจฉัยในสัทธรรมปฏิรูปสูตรที่ ๑๓  ดังต่อไปนี้.

         บทว่า  อญฺญฺาย  สณฺฐหึสุ  ภิกษุตั้งอยู่ในพระอรหัตผล.   บทว่า

สพฺธมฺมปฏิรูปกํ   ได้แก่    สัทธรรมปฏิรูป ๒ คือ    สัทธรรมปฏิรูปคือ

อธิคม ๑  สัทธรรมปฏิรูปคือปริยัติ  ๑.  ในสัทธรรมปฏิรูปกะนั้น   

              ฐานะ ๑๐  เหล่านี้คือ   จัดย่อมหวั่นไหว   ด้วยฐานะ.

              เหล่าใด  คือหวั่นไหวในโอภาส  ญาณ  ปีติ  ปัสสัทธิ

              สุข  และหวั่นไหวในอธิโมกข์  ปัคคาหะ  อุปัฏฐานะ

              อุเบกขาอาวัชชนะ   อุเบกขานิกันติ  ปัญญาอันผู้ใด

              อบรมแล้ว        ผู้นั้นเป็นผู้ฉลาดในความฟุ้งซ่านใน

              ธรรม  จะไม่ถึงความลุ่มหลง  ดังนี้.

นี้ชื่อว่าอธิคม คือสัทธรรมปฏิรูปกะ  อันเป็นอุปกิเลสแห่งวิปัสสนาญาณ.

         ส่วนคำมิใช่พระพุทธพจน์มีคุฬหวินัย  คุฬหเวสสันดร  คุฬหมโหลถ

วัณณปิฎก    อังคุลิมาลปิฎก     พระรัฐบาลคัชชิตะ     ความกระหึ่มของ

อาฬวกคัชชิตะ    เวทัลลปิฎกเป็นต้น   นอกจากกถาวัตถุ  ๔ เหล่านี้  คือ

ธาตุกถา  อารัมมณกถา  อสุภกถา  ญาณวัตถุกถา  วิชชากรัณฑกะ  ซึ่งยัง

ไม่ยกขึ้นสู่สังคายนาทั้ง  ๓  ครั้ง  ชื่อว่า  สัทธรรมปฏิรูปคือปริยัติ.  บทว่า

ชาตรูปปฏิรูปกํ     ความว่า   ทองคำทำด้วยทองเหลืองอันนายช่างทอง

เจียระไนออกเป็นเครื่องประดับ.   ก็ในเวลามีมหรสพ  คนทั้งหลายไปร้านค้า

ด้วยคิดว่า  เราจักรับเครื่องอาภรณ์  ดังนี้.    ครั้งนั้น    พ่อค้าพูดกับพวก

เขาอย่างนี้ว่า     ถ้าท่านต้องการอาภรณ์เชิญรับอาภรณ์เหล่านี้.       เพราะ

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 634

อาภรณ์เหล่านี้หนา    สีงาม   ราคาก็ถูกด้วย.     คนเหล่านั้น    ฟังพ่อค้า

เหล่านั้น   รับเอาอาภรณ์เหล่านั้นไปด้วยคิดว่า    พ่อค้าเหล่านี้บอกเหตุว่า

ท่านใช้อาภรณ์เหล่านี้เล่นนักกษัตรได้  งามก็งาม   ทั้งราคาก็ถูก  ดังนี้.

ทองคำธรรมชาติ    เขาไม่ขาย     ฝั่งเก็บเอาไว้.      เมื่อทองเทียมเกิดขึ้น

ทองคำธรรมชาตินั้น   จึงชื่อว่าหายไปอย่างนี้.

         บทว่า  อถ  สทฺธมฺมสฺส  อนฺตรธานํ  โหติ  ได้แก่  สัทธรรม

แม้ ๓ อย่างคือ   อธิคมสัทธรรม   ปฏิบัติสัทธรรม  ปริยัติสัทธรรม

ย่อมอันตรธาน.     ก็ครั้งปฐมโพธิกาล   พวกภิกษุได้เป็นผู้ถึงปฏิสัมภิทา.

ครั้นเมื่อกาลล่วงไป  ถึงปฏิสัมภิทาไม่ได้  แต่ก็ได้อภิญญา  ๖  ต่อมาเมื่อ

ถึงอภิญญา  ๖ ไม่ได้   ก็ถึงวิชชา  ๓.    เมื่อล่วงมาบัดนี้  เมื่อถึงวิชชา  ๓

ไม่ได้    จักถึงซึ่งเพียงความสิ้นไปแห่งอาสวะ    เมื่อถึงแม้ความสิ้นอาสวะ

ไม่ได้  ก็จักบรรลุอนาคามิผล    เมื่อบรรลุแม้อนาคามิผลนั้นไม่ได้    ก็จัก

บรรลุสกทาคามิผล    เมื่อแม้บรรลุสกทาคามิผลนั้นไม่ได้    ก็จักบรรลุแม้

โสดาปัตติผล.  เมื่อเวลาผ่านไป  จักบรรลุแม้โสดาปัตติผลก็ไม่ได้.  ครั้งนั้น

ในกาลใด     วิปัสสนาจักเริ่มเศร้าหมองด้วยอุปกิเลสเหล่านี้     ในกาลนั้น

อธิคมสัทธรรมของพวกภิกษุเหล่านั้น    จักชื่อว่าเสื่อมหายไป.

         ครั้งปฐมโพธิกาล  พวกภิกษุยังการปฏิบัติอันสมควรแก่ปฏิสัมภิทา  ๔

ให้บริบูรณ์  เมื่อกาลล่วงไป   เมื่อปฏิบัติข้อนั้นไม่ได้   ก็ปฏิบัติอันสมควร

แก่อภิญญา  ๖  ได้บริบูรณ์  เมื่อปฏิบัติข้อนั้นแม้ไม่ได้ก็ปฏิบัติอันสมควร

แก่วิชชา ๓  ได้บริบูรณ์  เมื่อปฏิบัติข้อนั้นไม่ได้ก็ปฏิบัติอันสมควรแก่พระ

อรหัตผลได้บริบูรณ์  เมื่อกาลผ่านไป  เมื่อปฏิบัติอันสมควรแก่พระอรหัต

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 635

ไม่ได้บริบูรณ์  ก็จักปฏิบัติอันสมควรแก่พระอนาคามิผลได้บริบูรณ์  ปฏิบัติ

แม้ข้อนั้นไม่ได้    ก็จักปฏิบัติอันสมควรแก่พระสกทาคามิผลได้บริบูรณ์

เมื่อปฏิบัติแม้ข้อนั้นไม่ได้    ก็จักปฏิบัติอันสมควรแก่โสดาปัตติผลได้

บริบูรณ์.   ส่วนในกาลใด    เมื่อปฏิบัติอันสมควรแม้แก่พระโสดาปัตติผล

ไม่ได้บริบูรณ์  ก็จักตั้งอยู่เพียงศีลอันบริสุทธิ์.   ในกาลนั้น   ปฏิบัติสัทธรรม

จักชื่อว่าเสื่อมหายไป.

         จะกล่าวว่า  ศาสนาไม่อันตรธานตลอดเวลาที่พระไตรปิฎกพุทธพจน์

ยังเป็นไปอยู่  ดังนี้ก็ควร.  อีกอย่างหนึ่ง  ๓  ปิฎกยังดำรงอยู่  เมื่ออภิธรรม

ปิฎกเสื่อมหายไป  ปิฎก ๒ นอกนี้ก็ยังเป็นไปอยู่  ไม่ควรกล่าวว่า  ศาสนา

อันตรธานแล้วดังนี้.   เมื่อปิฎก  ๒  เสื่อมหายไป  ก็ยังดำรงอยู่เพียงวินัยปิฎก

แม้ในวินัยปิฎกนั้นเมื่อขันธกบริวารเสื่อมหายไป ก็ดำรงอยู่เพียงอุภโตวิภังค์

เมื่อมหาวินัยเสื่อมหายไป  เมื่อปาติโมกข์สองยังเป็นไปอยู่ ศาสนาอัตรธาน

ก็หามิได้แล.     แต่เมื่อใดปาติโมกข์สองจักเสื่อมหายไป  เมื่อนั้นปริยัติ-

สัทธรรมจักอันตรธาน.  เมื่อปริยัติสัทธรรมนั้นเสื่อมหายไป  ศาสนาชื่อว่า

อันตรธานแล้ว.    ด้วยว่าเมื่อปริยัติเสื่อมหายไป  การปฏิบัติก็เสื่อมหายไป

เมื่อการปฏิบัติเสื่อมหายไป อธิคมก็เสื่อมหายไป.  ถามว่า  เพราะเหตุไร.

ตอบว่า  ปริยัตินี้เป็นปัจจัยแก่การปฏิบัติ   การปฏิบัติเป็นปัจจัยแก่อธิคม.

แต่เมื่อว่าโดยการปฏิบัติกำหนดปริยัติเท่านั้น  ด้วยประการฉะนี้.

         ถามว่า  ในสมัยกัสสปสัมมาสัมพุทธะ   อนาจารภิกษุชื่อกบิล   จับ

พัดนั่งบนอาสนะด้วยคิดว่า  เราจักสวดปาติโมกข์ดังนี้  จึงถามว่า  ในที่นี้ผู้

สวดปาติโมกข์ได้มีอยู่หรือ.   ครั้งนั้น   ภิกษุแม้เหล่าใดสวดปาฏิโมกข์

๑.  ม.  อนาราธกภิกฺขุ =  ภิกษุผู้มิได้รับอาราธนา.

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 636

ได้ก็จริง   ถึงกระนั้นภิกษุเหล่านั้นก็ไม่พูดว่า   พวกเราสวดได้   แต่พูดว่า

พวกเราสวดไม่ได้     ดังนี้     เพราะกลัวแก่ภิกษุนั้น     เธอวางพัดลุกจาก

อาสนะไปแล้ว.    ถามว่า     ในกาลนั้น    ศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธะ

เสื่อมแล้วมิใช่หรือ.    ตอบว่า  เสื่อมแม้ก็จริง   ถึงกระนั้นก็กำหนดปริยัติ

โดยส่วนเดียว.    เปรียบเหมือนสระน้ำใหญ่   มีขอบมั่นคง   ไม่พึงกล่าวว่า

น้ำจักไม่ขังอยู่  ดังนี้  เมื่อมีน้ำ  ไม่พึงกล่าวว่า ดอกไม้  มีดอกปทุมเป็นต้น

จักไม่บาน ดังนี้ฉันใด   ก็ฉันนั้นเหมือนกัน  เมื่อมีพระไตรปิฎกคือพุทธพจน์

เป็นเช่นขอบอันมั่นคงของสระน้ำใหญ่   ไม่พึงกล่าวว่า  ไม่มี    กุลบุตรยัง

ปฏิบัติให้บริบูรณ์ได้   เป็นเช่นน้ำในสระน้ำใหญ่   ดังนี้.    แต่กำหนดถึง

ปริยัติ   โดยส่วนเดียวอย่างนี้ว่า  เมื่อกุลบุตรเหล่านั้น  มีอยู่  ไม่พึงกล่าวว่า

พระอริยบุคคลมีพระโสดาบันเป็นต้น     ไม่มี    เหมือนดอกไม้มีดอกปทุม

เป็นต้น  ในสระน้ำใหญ่   ไม่มีฉะนั้น.

         บทว่า  ปฐวีธาตุ   ได้แก่   มหาปฐพีหนาได้สองแสนสี่หมื่นนหุต.

บทว่า อาโปธาตุ ได้แก่  น้ำอันยังกัปให้พินาศ  เริ่มต้นแต่แผ่นดินท่วมสูง

ขึ้นไปจนถึงพรหมโลกชั้นสุภกิณหา.  บทว่า  เตโชธาตุ  ได้แก่  ไฟอัน

ยังกัปให้พินาศ     เริ่มแต่แผ่นดินไหม้ขึ้นไปจนถึงพรหมโลกชั้นอาภัสสรา.

บทว่า  วาโยธาตุ ได้แก่ ลมอันยังกัปให้พินาศ เริ่มต้นแต่แผ่นดินพัดขึ้นไป

จนถึงพรหมโลกชั้นเวหัปผลา  ในธรรมมีปฐวีธาตุเป็นต้นนั้นแม้ธรรม

อย่างหนึ่ง     ไม่สามารถจะยังสัตถุศาสน์ให้อันตรธานได้     เพราะฉะนั้น

พระองค์จึงตรัสอย่างนี้.    บทว่า  อิเธว   เต   อุปปชฺชนฺติ   โมฆบุรุษ

เหล่านั้น  ย่อมเกิดขึ้นในศาสนาของเรานี้นี่แหละ  เหมือนสนิมเกิดแต่เหล็ก

กัดกร่อนเหล็กฉะนั้น.  บทว่า  โมฆปุริสา  คือ  บุรุษเปล่า.

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 637

         ในบทว่า  อาทิเกเนว   โอปิลาวติ    ได้แก่  ด้วยต้นหน   คือด้วย

การถือ  ได้แก่จับ.   บทว่า  โอปิลาวติ  คืออัปปาง.   มีอธิบายว่า  เรือ

อยู่ในน้ำ   บรรทุกสิ่งของย่อมอัปปาง    ฉันใด   พระสัทธรรม    ย่อมไม่

อันตรธานไป    เพราะเต็มด้วยปริยัติเป็นต้น.  ฉันนั้น.    เพราะเมื่อปริยัติ

เสื่อม    ปฏิบัติก็เสื่อม.    เมื่อปฏิบัติเสื่อม    อธิคมก็เสื่อม    เมื่อปฏิบัติยัง

บริบูรณ์อยู่ บุคคลผู้ทรงปริยัติก็ยังปฏิบัติให้บริบูรณ์ได้. ผู้ปฏิบัติให้บริบูรณ์

ได้  ก็ยังอธิคม (ปฏิเวธ) ให้บริบูรณ์ได้.  ท่านแสดงว่า   เมื่อปริยัติเป็นต้น

เจริญอยู่   ศาสนาของเรายังเจริญ   เหมือนดวงจันทร์ส่องแสงอยู่ฉะนั้น.

         บัดนี้     เมื่อทรงแสดงธรรมเป็นเหตุอันตรธาน     และความตั้งมั่น

แห่งพระสัทธรรม    จึงตรัสคำเป็นต้นว่า    ปญฺจ   โข   ดังนี้.    ในบท

เหล่านั้น บทว่า  โอกฺกมนียา  ความว่า ความก้าวลง  คือเหตุฝ่ายต่ำ.  บทว่า

อคารวา   ในบทว่า   สตฺถริ  อคารวา   เป็นต้น  ได้แก่ เว้นความเคารพ.

บทว่า อปฺปติสฺสา  ได้แก่ ความไม่ยำเกรง  คือไม่พระพฤติถ่อมตน.  ใน

ความไม่เคารพนั้น    ภิกษุใดขึ้นสู่ลานพระเจดีย์     กั้นร่ม    สวมรองเท้า

แลดูแต่ที่อื่น เดินคุยกันไป.  ภิกษุนี้  ชื่อว่าไม่มีความเคารพในพระศาสดา.

ภิกษุใด      เมื่อเขาประกาศเวลาฟังธรรม     อันภิกษุหนุ่มและสามเณรนั่ง

ห้อมล้อม  หรือกำลังทำนวกรรมเป็นต้นอย่างอื่น  นั่งหลับในโรงฟังธรรม

หรือเป็นผู้ฟุ้งซ่าน   นั่งคุยเรื่องอื่น    ภิกษุนี้     ชื่อว่าไม่มีความเคารพใน

พระธรรม. ส่วนภิกษุใด ไปสู่ที่บำรุงของพระเถระ นั่งไม่ไหว้  เอามือรัดเข่า

ทำการบิดผ้า  ก็หรือคะนองมือและเท้าอย่างอื่น มิได้รับการกล่าวเชื้อเชิญใน

สำนักของพระเถระผู้แก่     ภิกษุนี้      ชื่อว่าไม่มีความเคารพในพระสงฆ์.

ส่วนผู้ไม่ยังสิกขา ๓  ให้บริบูรณ์    เป็นผู้ชื่อว่าไม่มีความเคารพในสิกขา.

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ – หน้าที่ 638

ผู้ไม่ยังสมาบัติ ๘ ให้เกิด    หรือไม่ทำความเพียร    เพื่อความเกิดสมาบัติ

เหล่านั้น  ชื่อว่าไม่มีความเคารพในสมาธิ.   ธรรมฝ่ายขาว   พึงทราบ

โดยตรงกันข้ามกับคำที่กล่าวแล้วแล  แล้วประการฉะนี้.

                    จบอรรถกถาสัทธรรมปฏิรูปกสูตรที่  ๑๓

                          จบอรรถกถากัสสปสังยุตที่  ๔

สัทธรรมปฏิรูปกสูตร สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

พระไตรปิฎกเล่ม ๑๖ ข้อ ๕๓๑-๕๓๕

สารัตถปกาสินี ภาค ๒ หน้า ๓๑๘-๓๒๔

พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่ม ๒๖ หน้า ๖๓๐-๖๓๘

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *