บทความเกี่ยวกับศาสนา-ภาษา-สังคม

ทองเปื้อนคูถ

เรียนธรรมจากพระทุศีล

ประโยค๗ – สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฺฐกถา (ทุติโย ภาโค) – หน้าที่ 232

ปิณฺฑปาโตปิ ธมฺมิโย วฏฺฏติ ฯ 

        อปเร  เทฺว  ปคฺคหา  เทฺว  จ  ปริโภคา  ลชฺชิปคฺคโห  อลชฺชิ-

ปคฺคโห  ธมฺมปริโภโค  อามิสปริโภโคติ  ฯ  ตตฺถ  อลชฺชิโน  ลชฺชึ 

ปคฺคเหตุํ   วฏฺฏติ  ฯ  น  โส  อาปตฺติยา  กาเรตพฺโพ  ฯ  สเจ  ปน 

ลชฺชี  อลชฺชึ  ปคฺคณฺหาติ  อนุโมทนาย  อชฺเฌสติ  ธมฺมกถาย 

อชฺเฌสติ   กุเลสุ   อุปตฺถมฺเภติ   อิตโรปิ   อมฺหากํ   อาจริโย  

อีทิโส  จ  อีทิโส  จาติ  ตสฺส  ปริสติ  วณฺณํ  ภาสติ  อยํ  สาสนํ 

โอสกฺกาเปติ  อนฺตรธาเปตีติ  เวทิตพฺโพ  ฯ  ธมฺมปริโภคอามิส-

ปริโภเคสุ  ปน  ยตฺถ  อามิสปริโภโค  วฏฺฏติ  ตตฺถ  ธมฺมปริโภโคปิ 

วฏฺฏติ  ฯ   โย   ปน   โกฏิยํ   ฐิโต   คณฺโฐ   ตสฺส   ปุคฺคลสฺส 

อจฺจเยน  นสฺสิสฺสติ  ตํ  ธมฺมานุคฺคเหน  อุคฺคณฺหิตุํ  วฏฺฏตีติ  วุตฺตํ  ฯ 

ตตฺรีทํ   วตฺถุ   มหาภเย   กิร   เอกสฺเสว   ภิกฺขุโน   มหานิทฺเทโส 

ปคุโณ   อโหสิ  ฯ   อถ   จตุนฺนิกายิกติสฺสตฺเถรสฺส   อุปชฺฌาโย 

มหาติปิฏกตฺเถโร  นาม  มหารกฺขิตตฺเถรํ  อาห  อาวุโส  มหารกฺขิต 

เอตสฺส   สนฺติเก   มหานิทฺเทสํ   คณฺหาหีติ  ฯ  ปาโป  กิรายํ  ภนฺเต 

น   คณฺหามีติ  ฯ   คณฺหาวุโส   อหนฺเต   สนฺติเก   นิสีทิสฺสามีติ  ฯ 

สาธุ   ภนฺเต   ตุมฺเหสุ   นิสินฺเนสุ   อุคฺคณฺหิสฺสามีติ   ปฏฺฐเปตฺวา 

รตฺตินฺทิวํ  นิรนฺตรํ  ปริยาปุณนฺโต  โอสานทิวเส  เหฏฺฐามญฺเจ  อิตฺถึ 

ทิสฺวา   ภนฺเต   สุตํเยว   เม   ปุพฺเพ   สจาหํ  เอวํ  ชาเนยฺยํ  น  

อีทิสสฺส   สนฺติเก   ธมฺมํ   ปริยาปุเณยฺยนฺติ   อาห  ฯ   ตสฺส   ปน 

สนฺติเก  พหู  มหาเถรา  อุคฺคณฺหิตฺวา  มหานิทฺเทสํ  ปติฏฺฐเปสุํ  ฯ

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ – หน้าที่ 955

ลัชชี    บิณฑบาตไม่เป็นธรรม,    บิณฑบาตน่ารังเกียจ    ไม่ควรรับเอา.

บุคคลเป็นลัชชี  แม้บิณฑบาตก็เป็นธรรม ย่อมสมควร. 

     [อธิบายการยกย่องและการบริโภคอีกอย่างละ ๒]

         ยังมีการยกย่อง ๒ อย่าง    และการบริโภค  ๒ อย่างอีก   คือ   การ

ยกย่องลัชชี  ๑    การยกย่องอลัชชี ๑     ธรรมบริโภค  ๑    อามิสบริโภค  ๑,

ในการยกย่องและการบริโภคนั้น   การยกย่องลัชชี    แก่อลัชชี   สมควร.

เธอไม่ควรถูกปรับอาบัติ.  ก็ถ้าว่า   ลัชชียกย่องอลัชชี    ย่อมเชื้อเชิญด้วย

อนุโมทนา  เชื้อเชิญด้วยธรรมกถา   อุปถัมภ์ในสกุลทั้งหลาย,   แม้อลัชชี

นอกนี้   ก็กล่าวสรรเสริญเธอในบริษัทว่า   อาจารย์ของพวกเราย่อมเป็นผู้

เช่นนี้และเช่นนี้,   ภิกษุนี้  บัณฑิตพึงทราบว่า   ย่อมทำพระศาสนาให้เสื่อม

ลง  คือ ให้อันตรธานไป.

         ก็บรรดาธรรมบริโภคและอามิสบริโภค  ในบุคคลใด  อามิสบริโภค

สมควร,   ในบุคคลนั้น  แม้ธรรมบริโภค  ก็สมควร.  ท่านกล่าวไว้ (ใน

อรรถกถาทั้งหลาย) ว่า  ก็คัมภีร์ใด  ตั้งอยู่ในสุดท้าย   จักฉิบทายไป  โดย

กาลล่วงไปแห่งบุคคลนั้น,          จะเรียนเอาคัมภีร์นั้นเพื่ออนุเคราะห์ธรรม 

ควรอยู่.  ในการอนุเคราะห์ธรรมนั้น  มีเรื่องต่อไปนี้:-

             [เรื่องเรียนคัณฐะจากคนเลวเพื่ออนุเคราะห์ธรรม]

         ได้ยินว่า  ในยุคมหาภัย   ได้มีภิกษุผู้ชำนาญมหานิเทศเพียงรูปเดียว

เท่านั้น.  ครั้งนั้น  พระอุปัชฌะของพระติสสเถระ   ผู้ทรงนิกาย   ๔ ชื่อว่า

มหาติปิฎกเถระ  กล่าวกะพระมหารักขิตเถระว่า  อาวุโสมหารักขิต !   เธอ

จงเรียนเอามหานิเทศในสำนักแห่งภิกษุนั่นเถิด.  เธอเรียนว่า   ได้ทราบว่า

ท่านรูปนี้เลวทราม   ขอรับ  !  กระผมจักไม่เรียนเอา.

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ – หน้าที่ 956

        อุปัชฌาย์.  เรียนไว้เถิดคุณ  !  ฉันจักนั่งใกล้ ๆ เธอ. 

        พระเถระ.  ดีละ   ขอรับ !   เมื่อท่านนั่งอยู่ด้วย   กระผมจักเรียนเอา

แล้วเริ่มเรียนติดต่อกันทั้งกลางคืนกลางวัน   วันสุดท้ายเห็นสตรีภายใต้เตียง

แล้ว  เรียนว่า   ท่านขอรับ  !     กระผมได้สดับมาก่อนแล้วทีเดียว,    ถ้าว่า

กระผมพึงรู้อย่างนี้     จะไม่พึงเรียนธรรมในสำนักคนเช่นนี้เลย.     ก็พระ-

มหาเถระเป็นอันมาก     ได้เรียนเอาในสำนักของพระเถระนั้นแล้ว      ได้

ประดิษฐานมหานิเทศไว้สืบมา.

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *